VGA on Board หรือแยกดีกว่ากัน
VGA on Board หรือกราฟิคการ์ดออนบอร์ดเป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ประมวลผลเกี่ยวกับกราฟิคและการแสดงภาพทั้งหมด ชิปกราฟิคสำหรับ Notebook หรือ PC สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทได้แก่ ชิปกราฟิคที่รวมอยู่กับชิพเซ็ตหลัก โดยใช้หน่วยความจำ (RAM) ของตัวเครื่อง ชิพกราฟิคในลักษณะนี้จะเรียกว่า ชิพกราฟิคออนบอร์ด (VGA on Board) ส่วนอีกประเภทหนึ่งคือ ชิพ ....
การ์ดจอออนบอร์ด (VGA on Board)
บางครั้งการ์ดจออาจอยู่ในรูปแบบของชิป (ดังรูป) ที่ถูกติดตั้งไว้บนเมนบอร์ด เราเรียกการ์ดจอในลักษณะนี้ว่า การ์ดจอออนบอร์ด หรือ VGA on Board ซึ่งมักจะพบได้บนเมนบอร์ดราคาประหยัดทั่วๆไปที่ไม่จำเป็นต้องใช้ประสิทธิภาพ ในด้านกราฟิคมากมายนัก การ์ดจอแบบนี้จะดึงเอาพื้นที่หน่วยความจำหลักบางส่วน (Shared RAM) บนเมนบอร์ดมาใช้ ซึ่งจะเห็นได้จาก ....
หน่วยที่ใช้ในการวัดความจุหรือขนาดของข้อมูล
หน่วยที่ใช้ในการวัดความจุหรือขนาดของข้อมูล หรือที่ใช้เรียกด้วยศัพท์ของคอมพิวเตอร์เช่น บิต (Bit), ไบต์ (Byte), กิโลไบต์ (Kilobyte), เมกกะไบต์ (Megabyte), กิกะไบต์ (Gigabyte), เทอราไบต์ (Terabyte) เป็นต้น มีรายละเอียดดังนี้ ....
การอ่าน/เขียนข้อมูลกับฮาร์ดดิสต์มีปัญหา
บ่อยครั้งที่เราใช้งานคอมพิวเตอร์อยู่ดีๆแล้วเครื่องก็มักหยุดค้างไปซะ เฉยๆหรือขึ้นหน้าจอสีฟ้า (Blue Screen) หรือเข้าไปใช้งานในบางไดรว์ไม่ได้ มักขึ้น Error ตลอด และเมื่อรีสตาร์ทเครื่องใหม่ก็อาจเข้าสู่ระบบไม่ได้อีกเลย ให้สันนิษฐานว่าปัญหาเหล่านี้น่าจะมาจากฮาร์ดดิสต์เกิด Bad Sector ขึ้นตรงตำแหน่งที่มีการอ่าน/เขีนข้อมูล โดยสาเหตุของการเกิด Bad Sector ....
Operating System : ระบบปฏิบัติการ
Operating System หรือที่เรียกว่า โปรแกรมระบบปฏิบัติการ เป็นโปรแกรมที่คอยทำหน้าที่ควบคุมระบบการทำงานทั้งหมดของเครื่องคอมพิวเตอร์ ให้อยู่ในสภาพที่พร้อมสำหรับการใช้งานโปรแกรมอื่นๆต่อไปได้ และคอยทำหน้าที่เป็นตัวกลางในการติดต่อประสานงานระหว่างผู้ใช้กับเครื่อง คอมพิวเตอร์ ซึ่งโปรแกรมดังกล่าวนี้จำเป็นต้องถูกติดตั้งอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ทุกๆเครื่อง เพราะอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ต่างๆนั้น
รู้จักกับสปายแวร์ (Spyware)
Spyware เป็นโปรแกรมขนาดเล็กที่คอยแฝงตัวอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อแอบทำสิ่งต่างๆ โดยในบางครั้งเจ้าของเครื่องอาจไม่รู้ตัว เช่น ขโมยข้อมูลก่อกวนการใช้งานโดยแสดงหน้าต่างโฆษณาขึ้นมาเองเป็นระยะๆ หรืออาจจะแอบไปติดตั้ง Shortcut และ Toolbar ไว้ตามตำแหน่งต่างบนหน้าจอ และจะคอยสอดส่งพฤติกรรมการใช้งานอินเตอร์เน็ตของเรา เป็นต้น
หน่วยความจำแบบ Registered และ Unbuffered ต่างกันอย่างไร
หน่วยความจำประเภท Registered (มักนิยมใช้กันบนเครื่อง Server) จะประกอบไปด้วยตัวรีจิสเตอร์หรือดาต้าบัฟเฟอร์ รวมทั้งวงจรควบคุมอยู่บนแผงหน่วยความจำด้วย ทำให้ System Controller ที่อยู่ภายในชิพเซ็ตสามารถเข้าถึงหน่วยความจำได้มากขึ้น นอกจากนี้ ถ้ามี ....
รู้หรือไม่.. ไดร์เวอร์ (Driver) เป็นไฟล์ตระกูลไหน?
ไฟล์ไดร์เวอร์มักจะลงท้ายด้วยนามสกุล .inf ซึ่งจะใช้ในการสื่อสารกับอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ทุกประเภท และจะมีส่วนของไฟล์ .ini จะเป็นตัวกำหนดรายละเอียดของค่าต่างๆให้กับอุปกรณ์ แต่การตั้งค่าในไฟล์ .inf จะให้รายละเอียดมากกว่า ความแตกต่างของไฟล์ทั้งสองก็คือ ข้อมูลในไฟล์ .ini สามารถทำการแก้ไขการตั้งค่าต่างๆได้ แต่ในไฟล์ ....
มารู้จักกับ Cache ของ CPU กันดีกว่า
Cache นั้น ถ้าว่ากันตามหลักการมันก็คือ หน่วยความจำชนิดหนึ่งซึ่งจะมีความเร็วในการเข้าถึง และการถ่ายโอนข้อมูลที่สูง โดยจะมีหน้าที่ในการเก็บพักข้อมูลที่มีการใช้งานบ่อยๆ เพื่อเวลาที่ CPU ต้องการใช้ข้อมูลนั้นๆจะได้ค้นหาได้เร็ว โดยที่ไม่จำเป็นที่จะต้องไปค้นหาจากข้อมูลทั้งหมด ....
เลือกถอดแฟลชไดรว์อย่างปลอดภัย
ผู้ใช้หลายๆท่านมักนิยมถอดแฟลชไดรว์ออกมาจากพอร์ต USB ของเครื่องคอมพิวเตอร์ทันทีเมื่อต้องการเลิกใช้งาน ซึ่งจะทำให้อุปกรณ์เหล่านั้นมีอายุการใช้งานที่สั้นกว่าปกติ สำหรับผู้ที่ใช้ระบบปฏิบัติการอย่าง Windows XP แล้ว มีวิธีซึ่งช่วยให้การถอดแฟลชไดรว์เป็นไปได้ด้วยความปลอดภัย เมื่อผู้ใช้เสียบแฟลชไดรว์เข้าไปในพอร์ต...